บทที่14 ไฟฟ้ากระแส


ไฟฟ้ากระแส

ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity)

เป็นปรากฏการณ์ที่อิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่ผ่านตัวนำ เช่น แท่งโลหะ ซึ่งอิเล็กตรอนอิสระนี้จะไหลเป็นกระแส เราจึงอาจเรียกการไหลของกระแสไฟฟ้า ก็คือการไหลของอิเล็กตรอนนั่นเอง



ที่มาของรูป : http://www.vcharkarn.com/userfiles/238080/1%20(8)(1).jpg



  Q  คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดตัวนำ ณ จุดหนึ่งๆ (C)           t   คือ  เวลาที่ประจุไฟฟ้าไหลผ่านจุดนั้นๆ (s)           I   คือ  กระแสไฟฟ้าที่เกิด (A)

14.2 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
14.2.1 กฎของโอห์มและความต้านทาน

กระแสไฟฟ้าที่ผ่านลวดนิโครมแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่างปลายของลวดนิโครม”จึงเขียนเป็นสมการความสัมพันธ์ ได้ดังนี้

          V  คือ ความต่างศักย์ (V)
          I   คือ  ปริมาณกระแสไฟฟ้า (A)
          R  คือ  ความต้านทาน (โอห์ม)

สภาพต้านทานไฟฟ้า และสภาพนำไฟฟ้า




  ความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า (V)  และกระแสไฟฟ้าเพื่อหาความต้านทานของลวดโลหะตามกฎของโอห์ม  จะได้
1.  ความต้านทาน (R) ของลวดโลหะแปรผันกับความยาว  ของลวดโลหะ  เมื่อภาคตัดขวาง (A)มีค่าคงตัว
         2.  ความต้านทาน (R) ของลวดโลหะจะแปรผกผันกับภาคตัดขวาง(A)ของลวดโลหะ  เมื่อความยาวของลวดคงที่
  
       เขียนความสัมพันธ์ได้ว่า



พลังงานไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้า

สูตรการหาพลังงานไฟฟ้า




สูตรการกำลังไฟฟ้า

การคำนวณหาจำนวนหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ไปและเงินค่าไฟ

 Unit =  (P/1000) t


ค่าไฟฟ้า = (Unit) (ราคาต่อหน่วย)


 unit คือ จำนวนหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ (kW.Hr)
        P  คือ กำลังไฟฟ้า (J/s,W)
        t   คือ  เวลา (ชั่วโมง)

การต่อตัวต้านทาน


แบบอนุกรม






แบบขนาน


I1 ไม่เท่ากับ I2 ไม่เท่ากับ ....

Iรวม = I1+I2+...

Vรวม = V1 = V2 =...

1/Rรวม = 1/R1 + 1/R2 + ...




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น