บทที่17 ของไหล

บทที่17 ของไหล

17.1  ความหนาแน่น ( Density )

ความหนาแน่น หมายถึง มวลต่อหน่วยปริมาตร หน่วยความหนาแน่นคือ  กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ความหนาแน่นนิยมเขียนแทนด้วยอักษรกรีก  r  ( อ่านว่า rho ) ความหนาแน่นเป็นปริมาณสเกลาร์

m   คือ  มวลของสาร ( kg )V   คือ  ปริมาตรของสาร ( m 3)
r   คือ  ความหนาแน่นของสาร ( kg / m 3 )
r =    ………………………………..( 1 )แบบฝึกหัด 17.1
1.  ดาวนิวตรอนเป็นดาวขนาดเล็กแต่มีความหนาแน่นมาก  คาดว่าดาวนิวตรอนมีรัศมีเพียง 10 กิโลเมตร      แต่มีมวลเท่ากับดวงอาทิตย์  คือ  1.99 X 10 30  กิโลกรัม ความหนาแน่นของดาวนิวตรอนเป็นเท่าใด       (4.75 X 10 17 กิโลกรัมต่อลูกบาศเมตร)
2.  น้ำประปาที่อยู่ในถังมีมวล  20  กิโลกรัม  วัดปริมาตรได้  0.02  ลูกบาศก์เมตร  อยากทราบว่าน้ำประปา     มีความหนาแน่นเท่าใด 17.2 ความดันในของเหลวแรงดัน ( Force , F )  ผลคูณระหว่างความดันกับพื้นที่ ๆ ถูกแรงกระทำ  แรงดันเป็นปริมาณเวกเตอร์มีหน่วยเป็นนิวตันความดัน ( Pressure , P ) คืออัตราส่วนระหว่างแรงที่กระทำต่อพื้นที่ ๆ ถูกแรงกระทำโดยพื้นที่นั้นต้องตั้งฉากกับแรงกระทำด้วยความดันเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นนิวตันต่อตารางเมตรหรือพาสคัล(Pa)
        ให้      F   คือ แรงที่กระทำ  ( N )                     A   คือ  พื้นที่ที่ถูกแรงกระทำและตั้งฉากกับ F ( m 2 )
                     P   คือ  ความดัน ( N / m 2)
                      P =    ………………………………..(2)
เพิ่มเติม  1. ในทางอุตุนิยมวิทยาใช้หน่วยเป็น Bar  เมื่อ  1 Bar = 10 5  พาสคัล  (Pa)
               2. ในบางครั้งความดันอ่านเป็นบรรยากาศ  โดยที่ บรรยากาศ =  1.013 X  10 5  N / m 2               3.  1  บรรยากาศ ( atm ) = 760  มิลลิเมตรปรอท ( torr ) = 14.7 lb/in2 17.2.1 ความดันในของเหลวขึ้นกับความลึกสรุปหลักการสำคัญเกี่ยวกับความดันในของเหลวในสภาวะอยู่นิ่งได้ดังนี้1.  ณ จุดใด ๆ ในของเหลวจะมีแรงกระทำของของเหลวไปในทุกทิศทุกทาง2.  แรงที่ของเหลวกระทำต่อผนังภาชนะหรือผิววัตถุที่อยู่ในของเหลวจะอยู่ในทิศตั้งฉากกับผนังภาชนะหรือผิวของวัตถุที่ของเหลวสัมผัส3.  ความดัน  ณ  จุดใด ๆ  ในของเหลวที่อยู่นิ่งแปรผันตรงกับความลึกและความหนาแน่นของของเหลวเมื่ออุณหภูมิคงตัว4.  ความดันในของเหลวชนิดหนึ่ง ๆ ไม่ขึ้นอยู่กับปริมาตรและรูปร่างของภาชนะที่บรรจุของเหลวและที่ความลึกเท่ากันของเหลวชนิดเดียวกันความดันจะเท่ากันเสมอการจำแนกชนิดของความดัน1.              ความดันบรรยากาศ (Atmospheric  Pressure , Pa)   เป็นความดันที่เกิดจากบรรยากาศที่ทับถมอยู่เหนือจุดที่พิจารณามีค่าเท่ากับน้ำหนักของอากาศในชั้นบรรยากาศที่ทับถมอยู่เหนือพื้นที่ 1 ตารางหน่วย  ซึ่งคำนวณแล้วได้  1.013 X 10 5  N/m 2  เมื่อภาวะปกติ                2.  ความดันเกจ (Gauge Pressure , PW )หมายถึง ความดันของของเหลวเนื่องจากน้ำหนักของของเหลว                                ให้    PW   คือความดันเกจหรือความดันของของเหลวเนื่องจากน้ำหนักของของเหลว                                          r    คือความหนาแน่นของของเหลว                                          h   คือความสูงหรือความลึกของของเหลวจากผิวของของเหลว
                                                P= rgh  ………………………………….(3)                3.  ความดันสัมบูรณ์ (Absolute Pressure , P )  หมายถึง ความดันของของเหลวเนื่องจากน้ำหนักของของเหลวรวมกับความดันบรรยากาศ  จะได้ว่า                                                P = Pa + PW     ………………………………….(4)
                                                P = Pa + rgh  …………………………………..(5)                แรงดันน้ำที่กระทำต่อเขื่อน                                ให้          F   คือ  แรงดันที่น้ำกระทำต่อประตูเขื่อนหรือเขื่อน                                                r   คือ  ความหนาแน่นของน้ำ                              l    คือ  ความยาวของประตูเขื่อน                                                g   คือ  ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก     h   คือ  ความสูงของระดับน้ำ                                                    ………………………………..(6) แบบฝึกหัด 17.2.1
1.  ความดันของน้ำตรงจุดที่ลึก  10 m  มีค่าเท่าไร เมื่อความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1000 kg/m3 (105 N/ m 2 )
2.  ความดันของน้ำตรงจุดที่ลึก  8 m  มีค่าเท่าไร เมื่อความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1000  kg/m3 
3.  ถ้าความดันน้ำประปาเท่ากับ  1.09 X 10 6 นิวตันต่อตารางเมตร เมื่อเกิดเพลิงไหม้ ณ ที่แห่งหนึ่ง  พนักงาน
    ดับเพลิงจะสามารถฉีดน้ำขึ้นไปได้สูงสุดเท่าไร
(109 เมตร)
    ดับเพลิงจะสามารถฉีดน้ำขึ้นไปได้สูงสุดเท่าไร (109 เมตร)4.  ถ้าความดันน้ำประปาเท่ากับ  1.5 X 10 6  นิวตันต่อตารางเมตร เมื่อเกิดเพลิงไหม้ ณ ที่แห่งหนึ่ง  พนักงาน
     ดับเพลิงจะสามารถฉีดน้ำขึ้นไปได้สูงสุดเท่าไร
     ดับเพลิงจะสามารถฉีดน้ำขึ้นไปได้สูงสุดเท่าไร
5.  ถ้าน้ำทะเลมีความหนาแน่น  1.03 X 10 3 kg/m3  ชายคนหนึ่งดำน้ำลงไปลึก  10  m  จงหาความดันเกจ
     และความดันสัมบูรณ์ที่กระทำกับชายคนนี้  เมื่อความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำ ทะเลเท่ากับ 
10
     และความดันสัมบูรณ์ที่กระทำกับชายคนนี้  เมื่อความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำ ทะเลเท่ากับ  105  N/ m 2   
     (1.03 X 10
     (1.03 X 105  N/ m 2   , 2.03 X 105  N/ m 2 )
6.  ถ้าน้ำทะเลมีความหนาแน่น  1.03 X 10 3 kg/m3  ชายคนหนึ่งดำน้ำลงไปลึก  20  m  จงหาความดันเกจ
     และความดันสัมบูรณ์ที่กระทำกับชายคนนี้  เมื่อความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเลเท่ากับ  
10
     และความดันสัมบูรณ์ที่กระทำกับชายคนนี้  เมื่อความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเลเท่ากับ   105  N/ m 2 
7.  เรือดำน้ำลำหนึ่งได้รับการออกแบบให้ทนความดันภายนอกได้สูงสุด  ขนาด 4.1X106 N/ m 2  จะสามารถ
     นำเรือดำลงไปในน้ำทะเล ซึ่งมีความหนาแน่น
1.025 X 10
     นำเรือดำลงไปในน้ำทะเล ซึ่งมีความหนาแน่น 1.025 X 10 3 kg/m3 ได้อย่างมากที่สุดเท่าไร  ( 400 เมตร)
8.  เรือดำน้ำลำหนึ่งได้รับการออกแบบให้ทนความดันภายนอกได้สูงสุดขนาด 1.03 X106N/m2   จะสามารถ      นำเรือดำลงไปในน้ำทะเล ซึ่งมีความหนาแน่น 1.03 X 10 3 kg/m3 ได้อย่างมากที่สุดเท่าไร
9.  เขื่อนแห่งหนึ่งกว้าง  80  เมตร ถ้าระดับน้ำสูง  50  เมตร  แรงดันของน้ำเหนือเขื่อนมีค่าเท่าใด (10 9 N )
10. เขื่อนแห่งหนึ่งกว้าง  100  เมตร ถ้าระดับน้ำสูง  60  เมตร  แรงดันของน้ำเหนือเขื่อนมีค่าเท่าใด
11. เขื่อนรูปครึ่งวงกลมรัศมี  20  เมตร ถ้าระดับน้ำสูง  25  เมตร  แรงดันของน้ำเหนือเขื่อนมีค่าเท่าใด
     ( 1.25 X10 8   นิวตัน)
12. เขื่อนรูปครึ่งวงกลมรัศมี  30  เมตร ถ้าระดับน้ำสูง  40  เมตร  แรงดันของน้ำเหนือเขื่อนมีค่าเท่าใด
13. ประตูเขื่อนแห่งหนึ่งกว้าง  60  เมตร  ระดับน้ำข้างหนึ่งอยู่สูง  40  เมตร  อีกข้างหนึ่งอยู่ สูง  30  เมตร 
     จงหาแรงดันที่กระทำกับประตูเขื่อน
     จงหาแรงดันที่กระทำกับประตูเขื่อน ( 2.1 X10 5   นิวตัน)
14. ประตูเขื่อนแห่งหนึ่งกว้าง  80  เมตร  ระดับน้ำข้างหนึ่งอยู่สูง  60  เมตร  อีกข้างหนึ่งอยู่ สูง  40  เมตร 
     จงหาแรงดันที่กระทำกับประตูเขื่อน
     จงหาแรงดันที่กระทำกับประตูเขื่อน
15. เขื่อนกั้นน้ำแห่งหนึ่งยาว  15  เมตร  สูง  เมตร วิศวกรออกแบบสร้างเขื่อนได้กำหนดแรงดันทั้งหมด
     ของน้ำที่ตัวเขื่อนจะรับไว้ได้
     ของน้ำที่ตัวเขื่อนจะรับไว้ได้   2.25 X10 6   นิวตัน  จงคำนวณหาระดับน้ำเหนือเขื่อนที่เขื่อนจะรับไว้ได้ 16. เขื่อนกั้นน้ำแห่งหนึ่งยาว  45  เมตร  สูง  30  เมตร วิศวกรออกแบบสร้างเขื่อนได้กำหนด แรงดันทั้งหมด
     ของน้ำที่ตัวเขื่อนจะรับไว้ได้  
9 X10
     ของน้ำที่ตัวเขื่อนจะรับไว้ได้   9 X10 7   นิวตัน  จงคำนวณหาระดับน้ำเหนือเขื่อนที่เขื่อนจะรับไว้ได้
 17.2.2  เครื่องมือวัดความดันความดันของแก๊สหุงต้มในถังแก๊ส  ความดันของบรรยากาศขณะเวลาต่าง ๆ  ความดันของแก๊สในยางรถยนต์  หรือความดันของน้ำประปา  ล้วนเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของทุกคน  ความดันของของไหลเหล่านี้  วัดค่าได้อย่างไร  เครื่องวัดเหล่านี้มีหลายรูปแบบ เช่น แมนอมิเตอร์  แบรอมิเตอร์ และเครื่องวัดบูร์ดอน จะกล่าวถึงเพียงสังเขปดังนี้                บารอมิเตอร์ปรอท  สร้างตามหลักของ  ทอร์ลิเชลลี  โดยนำหลอดแก้วปลายเปิดข้างหนึ่ง ปลายปิดข้างหนึ่ง  ทำให้เป็นสุญญากาศแล้วคว่ำด้านปลายเปิดของหลอดแก้วลงไปในอ่างปรอท  เมื่อหลอดแก้วอยู่ในแนวดิ่งอากาศภายนอกจะดันปรอทให้เข้าสู่หลอดแก้วเป็นลำปรอทยาว  760 มิลิเมตร  ที่ระดับน้ำทะเล  ฉะนั้นที่ระดับน้ำทะเลอากาศจะมีความดันเท่ากับ  760 มิลิเมตรปรอทเสมอ                 บารอมิเตอร์แอนีรอยด์  ถ้าต้องการวัดความดันอากาศในที่สูง ๆ  เช่น  บนภูเขา  หรือบนเครื่องบิน ซึ่งทำจากโลหะที่บางมากและยืดหยุ่นได้  เมื่อความดันอากาศเพิ่มขึ้นตลับลูกฟูกก็จะถูกบีบให้แฟบลงแต่เมื่อความดันอากาศลดลง  ตลับลูกฟูกก็จะพองขึ้น  แล้วจะมีผลต่อแหนบส่งผลไปยังเข็มชี้  ซึ่งติดสเกลบอกบนหน้าปัดไว้เรียบร้อย  สำหรับหน้าปัดบารอมิเตอร์แอนีรอยด์ นั้นสามารถดัดแปลงเป็นความสูงจากระดับน้ำทะเลได้  เพราะว่าความดันอากาศจะลดลงตามความสูงในอัตราประมาณ  มิลลิเมตรของปรอทต่อความสูงที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ  11  เมตร เรียกเครื่องมือที่ดัดแปลงนี้ว่า  มาตรวัดความสูง หรือแอลติมิเตอร์  ซึ่งใช้ติดตัว  หรือติดในเครื่องบินเพื่อทราบระดับความสูงของเครื่องบิน
                เครื่องวัดบูร์ดอน (Bourdon gauge)   ประกอบด้วยท่อกลวง มีปลายปิดข้างหนึ่งและม้วนเป็นรูปวงกลม  ที่ปลายปิดมีเข็มติดอยู่สามารถเลื่อนไปมาเพื่อชี้บนสเกลได้  เมื่อต้องการวัดความดันก็ให้ของไหล ไหลเข้าไปในท่อทางด้านปลายเปิดจะทำให้ท่อนี้ยืดออกเข็มที่ติดกับปลายท่อก็จะชี้บนสเกลบอกความดันของไหลนั้นได้  แมนอมิเตอร์แบบนี้นิยมใช้กับของไหลที่มีความดันสูงมาก  เช่น  หม้อลมเติมยางรถยนต์  ถังแก๊สหุงต้ม  เป็นต้น  
                แมนอมิเตอร์ (Manometer)  เป็นอุปกรณ์สำหรับวัดความแตกต่างของความดันในของไหล  โดยปกติใช้บอกความแตกต่างของความดันในรูปความแตกต่างของระดับความสูงของลำของเหลวทั้งสองข้างในหลอดแก้วรูปตัวยู     ให้         P     คือ  ความดันสัมบูรณ์ของอากาศในสายยางที่นักเรียนเป่า                                Pa   คือ ความดันของบรรยากาศขณะนั้น                                PW   คือ  ความดันเนื่องจากลำของเหลวที่สูง d
                ถ้าของเหลวอยู่ในสภาพสมดุล  จะได้ว่า                                                P = Pa + PW  
                        ความดันของอากาศในสายยางที่เพิ่มขึ้น                                   P - Pa  =  PW = rgd  …………………………………(7)                จะเห็นว่า  ผลต่างของระดับของเหลวในหลอดแก้วรูปตัวยู  หรือระยะ  จะแปรผันตรงกับความดันที่เพิ่มของอากาศในสายยาง                แสดงว่าเราสามารถใช้ระยะ  เป็นตัวแสดงความดันที่เพิ่มขึ้นที่ปลายข้างหนึ่ง  ความดันที่วัดได้จากเครื่องมือวัดนี้ เรียกว่า  ความดันเกจนั่นเองแบบฝึกหัด 17.2.2
1.  ถ้าของเหลวที่บรรจุในหลอดแก้วรูปตัวยู  ของแมนอมิเตอร์  คือ  น้ำ ซึ่งมีความหนาแน่นเท่ากับ  1000
     กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร  เมื่อของเหลวในหลอดแก้วรูปตัวยูต่างระดับกัน
     กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร  เมื่อของเหลวในหลอดแก้วรูปตัวยูต่างระดับกัน  เซนติเมตร ความดันเกจ
     ที่อ่านได้จะเป็นเท่าไร
     ที่อ่านได้จะเป็นเท่าไร ( 200 นิวตันต่อคารางเมตร)2.  ถ้าของเหลวที่บรรจุในหลอดแก้วรูปตัวยู  ของแมนอมิเตอร์  คือ  น้ำมัน ซึ่งมีความหนาแน่นเท่ากับ  800
     กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร  เมื่อของเหลวในหลอดแก้วรูปตัวยูต่างระดับกัน  5  เซนติเมตร ความดันเกจที่
     อ่านได้จะเป็นเท่าไร
     อ่านได้จะเป็นเท่าไร
3.  ความดันที่ลึก  เมตร  จากผิวทะเลสาบอย่างหนึ่งมีค่าเป็นครึ่งหนึ่งของที่ความลึก  18  เมตร  ความกดดัน
     ของอากาศที่ผิวทะเลสาบมีค่าเท่าไร
     ของอากาศที่ผิวทะเลสาบมีค่าเท่าไร ( 8 X 10 4 N/m 2)
4.  ความดันที่ลึก  10  เมตร จากผิวทะเลสาบอย่างหนึ่งมีค่าเป็นครึ่งหนึ่งของที่ความลึก  30 เมตร ความกดดัน
     ของอากาศที่ผิวทะเลสาบมีค่าเท่าไร
     ของอากาศที่ผิวทะเลสาบมีค่าเท่าไร
5.  น้ำจืดลึก  0.6  เมตร  ให้ความดันเท่ากับน้ำทะเลลึก  0.4  เมตร  จงหาความหนาแน่นของน้ำทะเล  กำหนด
     ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ
     ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ  10 3 kg/m3  ( 1.5 X 10 3 kg/m3)
6.  น้ำจืดลึก  10  เมตร  ให้ความดันเท่ากับน้ำทะเลลึก  เมตร  จงหาความหนาแน่นของน้ำทะเล  กำหนด
     ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ
     ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ  10 3 kg/m3
7.  ที่ก้นบ่อแร่แห่งหนึ่งบารอมิเตอร์  ปรอทอ่านได้  77.4  cm  จงหาว่า บารอมิเตอร์น้ำมันที่วางไว้ข้างกันจะ
     อ่านได้เท่าไร  กำหนดความหนาแน่นของปรอทและน้ำมันเท่ากับ
     อ่านได้เท่าไร  กำหนดความหนาแน่นของปรอทและน้ำมันเท่ากับ 13.6 X 10 3 kg/m3  และ  0.9 X 10 3
     kg/m
     kg/m3  ตามลำดับ  ( 11.7 m )
8.  ที่ก้นบ่อแร่แห่งหนึ่งบารอมิเตอร์  ปรอทอ่านได้  80  cm  จงหาว่า บารอมิเตอร์น้ำมันที่วางไว้ข้างกันจะ
     อ่านได้เท่าไร  กำหนดความหนาแน่นของปรอทและน้ำมันเท่ากับ
     อ่านได้เท่าไร  กำหนดความหนาแน่นของปรอทและน้ำมันเท่ากับ 13.6 X 10 3  kg/m3  และ  0.8 X 10 3
     kg/m
     kg/m3  ตามลำดับ
9.  ความดันที่ก้นบ่อแห่งหนึ่ง  มีค่าเป็น  เท่าของความดันที่จุดลึกจากผิวน้ำ  0.6  เมตร จงหาความลึกของ
     บ่อนั้น  ถ้าความดันบรรยากาศมีค่าเท่า
     บ่อนั้น  ถ้าความดันบรรยากาศมีค่าเท่า  10.2  เมตรของน้ำ (33 เมตร)10. ความดันที่ก้นบ่อแห่งหนึ่ง  มีค่าเป็น  เท่าของความดันที่จุดลึกจากผิวน้ำ  เมตร จงหาความลึกของบ่อ
     นั้น  ถ้าความดันบรรยากาศมีค่าเท่า
     นั้น  ถ้าความดันบรรยากาศมีค่าเท่า  10  เมตรของน้ำ
                           รูปข้อ11                           รูปข้อ12                                            รูปข้อ13                              รูปข้อ14 11.ขวดใส่ของเหลวดังรูป ส่วนสูงของของเหลว  5 cm  ก้นขวดมีพื้นที่  100 cm 2 ถ้าของเหลวมีความ
     หนาแน่น13.6 X 10 4 kg/m3 ความดันเกจที่ก้นขวดมีค่าเท่าไร  (6.8 X 10 4  N/m2)
12.จากรูปความหนาแน่นของน้ำมันมีค่าเป็นกี่เท่าของน้ำ  (0.8 เท่าของน้ำ)13. จากรูป ถ้าปรอทมีความหนาแน่นเป็น  13.6 เท่าของน้ำ  X จะมีค่าเท่าไร  (2.72 เมตร) 14.อากาศมีความดัน  1.01 X 10 5  N/m 2  จงหา  Pa  เมื่อของเหลวที่บรรจุมีความหนาแน่น  2000 kg/m 3   
      
(1.03 X 10
      (1.03 X 10 5  N/m 2   )
 17.2.3  ความดันกับชีวิตประจำวันในชีวิตประจำวัน  เราต้องเกี่ยวข้องกับความดันตลอดเวลา  ดังจะเห็นได้จากอุปกรณ์หลายอย่างที่เราใช้ในการทำงานต้องอาศัยความดันบรรยากาศทั้งสิ้น  ดังตัวอย่างต่อไปนี้                เครื่องวัดความดันโลหิต ซึ่งเรียกว่า  Sphygomoanometer  เป็นเครื่องมือประกอบด้วยแมนอมิเตอร์  โดยใช้แมนอมิเตอร์วัดผ่านท่อนแขน ในขณะที่หัวใจบีบตัวส่งโลหิตไปตามเส้นเลือดแดง  ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย  ซึ่งเป็นค่าความดันโลหิตสูงสุด  และเมื่อโลหิตในเส้นเลือดดำย้อนกลับหัวใจจะอ่านค่าความดันโลหิตต่ำสุดจากแมนอมิเตอร์  สำหรับคนปกติ ความดันโลหิตจะเป็น 120/80  หมายความว่า ค่าความดันโลหิตสูงสุดจะเป็น  120  mm.Hg  และต่ำสุดเป็น  80  mm.Hg                หลอดดูดเครื่องดื่ม เมื่อใช้หลอดดูดเครื่องดื่ม  อากาศในหลอดมีปริมาตรลดลง  ทำให้ความดันอากาศในหลอดดูดลดลงด้วย  ความดันอากาศภายนอกซึ่งมากกว่าก็จะสามารถดันของเหลวขึ้นไปแทนที่อากาศในหลอดดูดจนกระทั่งของเหลวเข้าปาก                ยางติดผนัง เมื่อออกแรงกดแผ่นยางติดผนังบนผิวเรียบ  เช่น  แผ่นกระจก  อากาศที่อยู่ระหว่างแผ่นยางและกระจกจะถูกขับออก  ทำให้บริเวณดังกล่าวเกือบเป็นสุญญากาศ  อากาศภายนอกซึ่งมีความดันสูงกว่า  ก็จะกดผิวแผ่นยางให้แนบติดแผ่นกระจก 17.3  กฎของพาสคัลและเครื่องอัดไฮดรอริก                กฎของพาสคัล  ซึ่งกล่าวว่า  เมื่อความดัน  ณ  ตำแหน่งใด ๆ ในของเหลวที่อยู่นิ่งในภาชนะปิดความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ่ายทอดไปทุก ๆ จุดในของเหลวนั้น
                กฎของพาสคัลนี้สามารถอธิบายการทำงานของเครื่องกลผ่อนแรงที่รู้จักกันทั่วไปคือเครื่องอัดไฮดรอลิก  ซึ่งประกอบด้วยกระบอกสูบ  และลูกสูบสองชุดมีขนาดต่างกัน  มีท่อต่อเชื่อมกันและมีของเหลวบรรจุอยู่ภายใน
     รูปการทำงานของเครื่องอัดไฮโดรลิกให้     A  และ  a   คือ พื้นที่หน้าตัดของลูกสูบใหญ่และลูกสูบเล็ก
                         F   คือ  แรงกดลูกสูบด้านพื้นที่หน้าตัด
                         W  คือ  น้ำหนักที่ต้องการจะยกจากกฎของพาสคัลจะได้ว่า                                P 1 = P 2                                   ……………………………(8)                        การได้เปรียบเชิงกล     ………………………..(9)สูตรเครื่องอัดไฮดรอลิก หรือเครื่องอัดบาร์มาห์   ที่ไม่มีระบบคานโยกมาเกี่ยวข้อง  สูตรนี้ใช้เมื่อเครื่องอัดมีประสิทธิภาพ 
100 % ได้   เรียกว่าได้เปรียบเชิงกลตามปฏิบัติ ( A.M.A.) ส่วน   เรียกว่าได้เปรียบเชิงกลตามทฤษฎี  ( I.M.A.)  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น